วันเสาร์ที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

Diabeter (โรคเบาหวาน)

diabetes preservation

การรักษาโรคเบาหวานกับแพทย์ทางเลือก

เบาหวานเป็นโรคที่รักษาไม่ได้จริงหรือ? 

    โรคเบาหวาน คืออะไร ?

ในภาวะปกติ...ร่างกายมีตับอ่อนทำหน้าที่ผลิตฮอร์โมนอินซูลินซึ่งควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในภาวะ ปกติเมื่อรับประทานอาหาร จะทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น ตับอ่อนจะหลั่งอินซูลินในปริมาณที่พอเพียง และร่างกายจะตอบสนองต่ออินซูลิน อินซูลินจะทำให้เซลล์ของร่างกายเปิดรับเอาน้ำตาลในเลือดเข้าสู่เซลล์ ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดลดลงสู่ระดับปกติ
เมื่อเป็นเบาหวาน... ตับอ่อนผลิตฮอร์โมนอินซูลินไม่เพียงพอ หรือประสิทธิภาพของอินซูลินลดลงจากภาวะ ดื้อต่ออินซูลิน ทำให้ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติจึงส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือด สูงขึ้น

  • ในภาวะปกติ หลังรับประทานอาหาร จะมีระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากอาหารที่รับประทาน เข้าไปจะถูกย่อยสลายเปลี่ยนเป็นน้ำตาล และถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดโดยอินซูลินจะทำหน้าที่กระตุ้น เซลล์ร่างกายให้นำน้ำตาลเข้าสู่เซลล์เพื่อนำไปใช้เป็นพลังงาน
  • ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน... อาจเกิดจากการขาดอินซูลินในเบาหวานชนิดที่ 1 หรือภาวะดื้อต่ออินซูลินร่วมกับ การหลั่งอินซูลินไม่พอในเบาหวานชนิดที่ 2 ส่งผลให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นได้

อัตราการเกิดโรคเบาหวานในประเทศไทยคิดเป็นร้อยละ 6.9 (โดยประมาณ) ของประชากรอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ซึ่งร้อยละ 95 เป็นเบาหวานชนิดที่ 2

โรคเบาหวาน มีกี่ชนิด ?

เบาหวานแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ

เบาหวานชนิดที่ 1 เกิดจากเซลล์ที่มีหน้าที่สร้างอินซูลินในตับอ่อน(เบต้าเซลล์) ไม่สามารถผลิตอินซูลินได้หรือผลิตได้น้อยมาก ต้องได้รับการฉีดอินซูลินจึงจะควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ส่วนใหญ่ พบในคนอายุน้อย เด็ก หรือวัยรุ่น สาเหตุของการ เกิดโรค อาจเกิดจากพันธุกรรม,ตับอ่อนอักเสบจากการติด เชื้อ หรือเกิดภาวะภูมิคุ้มกันทำลายตัวเอง โรคเบาหวานชนิดนี้ หากไม่ได้รับการฉีดอินซูลินอาจเกิดโรค แทรกซ้อนรุนแรง ถึงขั้นเสียชีวิตได้

เบาหวานชนิดที่ 2 เกิดจากการที่เซลล์สร้างอินซูลินในตับอ่อนยังพอผลิตอินซูลินได้ แต่อินซูลินที่ได้นั้น ไม่มีประสิทธิภาพ หรือมีปริมาณ หรือจำนวนไม่เพียงพอที่จะทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดเกิดความสมดุลในร่างกาย หรือ ร่างกายเกิดภาวะต้านอินซูลิน มักจะพบในผู้ใหญ่ หรือคนอ้วน การรักษาใช้ยาชนิดรับประทาน หากไม่สามารถ ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีพอ อาจต้องพึ่งการฉีดอินซูลิน

โรคแทรกซ้อนของเบาหวาน

แบ่งออกเป็น 2 ประเภท

1. แบบเฉียบพลัน
› ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
อาการแสดง หิว ใจสั่น หัวใจเต้นเร็ว วิงเวียนศีรษะ เหงื่อออก ตัวเย็น อารมณ์เปลี่ยนแปลง หมดสติ
สาเหตุ มักเกิดจากการรับประทานอาหารน้อยกว่าปกติ ขนาดหรือชนิดของยาไม่เหมาะสม
ออกกำลังกายหรือทำงานหนักกว่าปกติ
วิธีแก้ไข อมลูกอม 2 เม็ด หรือน้ำผลไม้ประมาณ ½ แก้ว หรือ 120 ซีซี หรือรับประทานขนมปัง 1 แผ่น

  › ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง
อาการแสดง กระหายน้ำ ปัสสาวะบ่อยโดยเฉพาะเวลากลางคืน อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย น้ำหนักลด ตามัว
ซึมลง หมดสติ
สาเหตุ เกิดจากการควบคุมเบาหวานได้ไม่ดี
วิธีแก้ไข ดื่มน้ำสะอาดมากๆ ตรวจระดับน้ำตาลในเลือดเป็นระยะ ถ้าระดับน้ำตาลในเลือดยังไม่ลดลงควรรีบปรึกษาแพทย์

แบบค่อยๆเป็นไปเรื่อยๆ (เรื้อรัง)

โรคแทรกซ้อนจากหลอดเลือดเล็ก

    • โรคแทรกซ้อนทางตา
      อัตราเสี่ยงของผู้เป็นเบาหวานมีโอกาสเกิดตาบอด 25 เท่าของคนทั่วไป
      หลังจากเป็นเบาหวานมา 20 ปี โอกาสตาบอดจากเบาหวานขึ้นตา ประมาณร้อยละ 10 ของ
      ผู้เป็นเบาหวานทั้งหมด
    • โรคแทรกซ้อนทางไต
      อัตราเสี่ยงของผู้เป็นเบาหวานมีโอกาสเกิดโรคไตวายขั้นสุดท้าย 20 เท่าของคนทั่วไป
      1 ใน 3 ของผู้ป่วยไตวายขั้นสุดท้ายเกิดจากโรคเบาหวาน

โรคแทรกซ้อนจากหลอดเลือดใหญ่

    • อัตราเสี่ยงเป็นโรคหัวใจ 2.4 เท่าของคนทั่วไป
      โอกาสเกิดโรคอัมพาต 5 เท่าของคนทั่วไป
      โรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุการตายมากว่าร้อยละ 50 ในผู้เป็นเบาหวานที่สูงอายุ

โรคแทรกซ้อนทางระบบประสาท

หลังจากเป็นเบาหวาน 25 ปี ประมาณร้อยละ 50 ของผู้เป็นเบาหวานจะเกิดโรคแทรกซ้อนทางระบบประสาท ได้แก่ เส้นประสาทส่วนปลายเสื่อม เกิดความผิดปกติของเส้นประสาทเส้นใดเส้นหนึ่ง ระบบประสาทอัตโนมัติเสื่อม

โรคแทรกซ้อนทางระบบประสาทอัตโนมัติ พบร้อยละ 20-40 ของผู้่เป็นเบาหวาน

 

เป้าหมายในการควบคุมโรคเบาหวานที่ดี

 

• เป้าหมายของระดับน้ำตาลในเลือด

   

  >ระดับน้ำตาลในเลือดขณะอดอาหาร

70-110

มก./ดล.

  >ระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหาร 2 ชั่วโมง

<140

มก./ดล.

  >ระดับน้ำตาลในเลือดสูงสุดหลังอาหาร

<180

มก./ดล.

  >ระดับน้ำตาลสะสม (HbA1c)

<6.5

เปอร์เซ็นต์(%)

• เป้าหมายของระดับความดันโลหิต **

   

  >ระดับความดันโลหิต ไม่ควรเกิน

130/80

มม.ปรอท

• เป้าหมายของระดับไขมันในเลือด

   

  >ระดับไขมัน โคเลสเตอรอลรวม

130-170

มก./ดล.

  >ระดับไขมัน ไตรกลีเซอไรด์

<150

มก./ดล.

  >ระดับไขมัน แอล ดี แอล โคเลสเตอรอล ***

<100

มก./ดล.

  >ระดับไขมัน เอช ดี แอล โคเลสเตอรอล : ผู้ชาย

>40

มก./ดล.

                                                   : ผู้หญิง

>50

มก./ดล.

• น้ำหนักตัว

   

  >ดัชนีมวลกาย

18.5-22.9

กก./ตร.ม.

  >รอบเอว                                         : ผู้ชาย

<90

ซม.

                                                      : ผู้หญิง

<80

ซม.

• การสูบบุหรี่

ไม่สูบบุหรี่และหลีกเลี่ยง

 
 

การรับควันบุหรี่

 

• การออกกำลังกาย

ตามคำแนะนำของแพทย์

 

ไขมัน เอช ดี แอล โคเลสเตอรอล เป็นไขมันชนิดดี ช่วยป้องกันโรคหลอดเลือดตีบแข็ง
* ในผู้ป่วยที่ไม่ต้องการควบคุมเข้มงวด เป้าหมายระดับน้ำตาลในเลือดขณะอดอาหารคือ <130 มก./ดล.
และ HbA1c ประมาณ 7.0%
** ในผู้ป่วยสูงอายุ และผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเป้าหมายความดันโลหิตคือ <140/90 มม.ปรอท หรือใกล้ เคียง
*** ถ้ามีโรคหลอดเลือดหัวใจ หรือมีปัจจัยเสี่ยงของโรคหลอดเลือดหัวใจหลายอย่างร่วมด้วย ควรควบคุมให้ แอล ดี แอล โคเลสเตอรอล ต่ำกว่า 70 มก./ดล.

เบาหวาน....หายได้จริงหรือ

ถ้าจะบอกว่าเบาหวานหายได้จริง ๆ ก็คงเป็นคำกล่าวที่ขัดกับความรู้สึกเดิม ๆ ของคนทั่วไป เพราะการรักษาเบาหวานที่แพร่หลายที่สุด ในปัจจุบันคือการรักษากับแพทย์แผนปัจจุบันที่โรงพยาบาล ซึ่งเมื่อคนไข้ถามคุณหมอว่า คุณหมอครับผมจะมีโอกาสหายจากโรคเบาหวานไหมครับ คุณหมอก็จะตอบว่า โรคเบาหวานไม่สามารถรักษาให้หายได้ แต่ถ้าคุณกินยาตามที่หมอสั่ง ควบคุมอาหารและออกกำลังกาย ตามที่หมอแนะนำ คุณก็จะสามารถควบคุมโรคเบาหวานได้ คำตอบนี้คือสูตรสำเร็จในการตอบของแพทย์แผนปัจจุบัน ซึ่งใช้แนวทางของแพทย์แผนตะวันตก
ทำไมเมื่อแพทย์แผนปัจจุบันซึ่งจบมาจากมหาวิทยาลัยการแพทย์ชั้นนำของประเทศหรือของโลก บอกว่ารักษาไม่หาย แล้วจึงมีแพทย์อีกกลุ่มหนึ่งซึ่ง ใช้แนวการรักษาแบบองค์รวม (Holistic Medicine) บอกว่ามีโอกาสหายได้ แล้วคนไข้จะเชื่อคำตอบไหนดี ข้อแนะนำก็คือ เชื่อผลการรักษาเป็นสิ่งที่ดีที่สุด การแพทย์แผนปัจจุบันรักษาเบาหวานด้วยการใช้ยาสังเคราะห์ซึ่งเป็นยาที่มีความเจาะจงในการรักษาสูง คือ ยาไปออกฤทธิ์ต่ออวัยวะส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย เช่น กระตุ้นการทำงานของตับอ่อนให้ผลิตอินซูลิน กระตุ้นการทำงานของตับหรือกล้ามเนื้อให้ใช้น้ำตาลในเลือดให้มากขึ้น

ถ้าตับอ่อนผลิตอินซูลินไม่ได้ ก็ใช้วิธีฉีดอินซูลินทดแทนการทำงานของตับอ่อน เป็นต้น ข้อดีก็คือการลดระดับน้ำตาลในเลือดทำได้รวดเร็วและแม่นยำ ข้อเสียคือถึงแม้ยาสังเคราะห์จะมีความเจาะจงในการรักษาสูงแต่ก็มีข้อเสียในการเป็นพิษต่ออวัยวะส่วนอื่น ๆ ของร่างกายด้วย ถึงแม้จะไม่เป็นพิษรุนแรงแต่การรักษาเบาหวานคนไข้ต้องใช้ยาติดต่อกันทุกวันตลอดชีวิต ทำให้เกิดการเป็นพิษสะสมจากยาได้ ในทุก ๆ วันที่ผ่านไป ร่างกายเราก็ตอบสนองต่อยาลดลง ทำให้ต้องเพิ่มขนาดของยามากขึ้น ซึ่งความเป็นพิษจากยาก็จะเพิ่มมาตามไปด้วย เนื่องจากแพทย์แผนปัจจุบันเลือกวิธีการรักษาแบบนี้ เมื่อคนไข้ถามว่าเบาหวานจะหายหรือไม่ คำตอบก็คือไม่หาย เพราะการรักษาไม่ได้รักษาที่ต้นเหตุของการเกิดโรคเพราะโรคเบาหวานเป็นกลุ่มของโรคที่เกิดจากความผิดปกติของระบบการเผาผลาญอาหารของร่างกาย (Metabolic Syndrome) ซึ่งยังมีโรคในกลุ่มนี้อีกหลายโรค เช่น โรคอ้วน โรคไขมันในเลือดสูง โรคความดันโลหิตสูง กลุ่มของโรคเหล่านี้ยังก่อให้เกิดความผิดปกติของระบบอื่น ๆ ในร่างกายตามมาอีกมากมาย เช่น ระบบหมุนเวียนโลหิต ซึ่งประกอบด้วยอวัยวะหลักคือหัวใจและเส้นเลือดต่าง ๆ ทั่วร่างกาย ระบบประสาทซึ่งประกอบด้วยสมองและเส้นประสาทต่าง ๆ ทั่วร่างกาย ระบบทางเดินปัสสาวะประกอบด้วย ไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ และท่อปัสสาวะ เราจึงพบเสมอว่า เมื่อเป็นโรคในกลุ่ม Metabolic Syndrome แล้วจะเกิดโรคตามมาเกี่ยวกับสมอง หัวใจ ไต หรือผลอื่น ๆ เกี่ยวกับระบบประสาท เช่น ตาบอด มือเท้าชา เป็นแผลแล้วรักษาไม่หาย เป็นต้น

       สุดยอดยาสมุนไพรจีน” โหย่งเหิง”กับโรคเบาหวาน

h7 

   ทะเบียนยาเลขที่ G 422/43

          แพทย์ทางเลือกกับโรคเบาหวาน

    อาการของเบาหวาน

1.ฉี่บ่อยตอนกลางคืน ฉี่เป็นฟอง

2.หิวน้ำบ่อย (ต้องทดแทนน้ำที่ถูกขับออก )

3.อ่อนเพลีย น้ำหนักลด

4.หิวเก่ง / กินเก่ง

5.ติดเชื้อง่าย

6.สายตาเสื่อม

7.เห็นภาพไม่ชัด

8.ชาไม่รู้สึกตามแขน ตามขา

9.อาเจียน

10.เป็นแผลจะลุกลาม หายยาก เนื้อเน่า

           สาเหตุ

          เกิดจากความผิดปกติของต่อมที่ตับอ่อน ไม่สามารถผลิตโฮโมนอินซูลินได้ ซึ่งอินซูลินทำหน้าที่เปลี่ยนน้ำตาลให้เป็นพลังงานได้ ทำให้น้ำตาลในเลือดสูง ซึ่งเป็นผลให้ร่างกายไม่สามารถสร้างอินซูลินตามความต้องการของร่างกาย ผู้ป่วยจะเสี่ยงเป็นโรคไต หัวใจ ตาบอด

1.เป็นความเสื่อมของร่างกาย

2.กรรมพันธุ์

3.แบบแผนการดำเนินชีวิต

4.ขาดการออกกำลังกาย

       ข้อแนะนำ

1.ทานอาหารให้ถูกหลัก

2.ระมัดระวังเรื่องสุขภาพ ควรตรวจสุขภาพเมื่ออายุ 40 ปี

3.ทำร่างกายให้สะอาด/อย่าให้เกิดบาดแผล

4.มั่นตรวจฉี่เสมอ

5.หากเกิดอาการควรดื่มน้ำหวานทันที

6.อย่าปล่อยให้อ้วน (80%ของโรคมาจากความอ้วน)

7.อย่าเครียด และวิตกกังวลมากเกินไป

คนปกติ ระดับน้ำตาล 70-120 มิลกรัม ต่อ เดชิลิตร หากน้ำตาลสูงกว่า 400 อาจทำให้ซ็อกได้

 ผลข้างเคียงจากยาแผนปัจจุบัน จะทำให้ตับอ่อนเสื่อม ยาที่ใช้จะทำหน้าที่ควบคุมน้ำตาล แต่รักษาโรคไม่ได้

       การรับประทานยาสมุนไพรจีน”โหย่งเหิง” (ตามด้วยน้ำอุ่นทุกครั้ง)

  เริ่มที่ 5 cc. ไป 5 วัน ก่อนอาหาร เช้า-เย็น ก่อนนอน แล้วเพิ่มขนาดขึ้นเป็น 10 cc. อีก 5 วัน หลังจากนั้นจึงเพิ่มขนาดขึ้นอีกเป็น 15 cc. ไปตลอด ถ้ามีอาการใจสั่นให้ลดปริมาณลง 5 cc. ช่วงแรกร่างกายจะอ่อนเพลียมาก ระดับน้ำตาลจะขึ้นลง ปวดขา ปวดกล้ามเนื้อ ประมาณ 1-3 ขวด อาการจะเริ่มดีขึ้น เมื่อดื่มต่อเนื่องประมาณ 6 ขวดขึ้นไป อาการจะดีขึ้นมากหรือน้ำตาลอาจจะอยู่ในระดับปกติ แล้วแต่ระยะเวลาที่ผู้ป่วยเป็น

      โหย่งเหิงช่วยรักษาเบาหวานได้อย่างไร?

    ด้วยหน้าที่หลักของยาสมุนไพรจีน”โหย่งเหิง” คือ การบำรุง บำบัด และขับล้างสารพิษออกจากร่างกาย พูดง่ายๆก็คือ การเข้าไปรักษาฟื้นฟูที่ตับที่เป็นสาเหตุหลักของโรค เพื่อให้ตับอ่อนกลับมาทำหน้าที่ในการผลิตอินซูลิน หรือควบคุมระดับน้ำตาลให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายได้ตามปกติ

      สมุนไพรตัวไหนบ้างที่ทำหน้าที่ในการดูแล และบำรุงตับ?

     สมุนไพรที่ผสมอยู่ใน”โหย่งเหิง”มีมากกว่า 30 ชนิด

Picture23 

Picture25

 Picture24

กลุ่มสมุนไพรที่ใช้ในการบำรุงตับ เช่น

ตังถั่งเฉ้าหรือหญ้าหนอนวิเศษ

Picture29

เก๋ากี้

Picture33

โต่วต๋ง

Picture39

บักกวย

     สรรพคูณ บำรุงตับ ปรับเส้นเอ็นให้อ่อน

เน๊กกุ่ย

     สรรพคุณ บำรุงไต บำรุงตับ ม้าม เลือด

หลักฮั่ง

    สรรพคุณ ขับลม สร้างกระดูก บำรุงไต บำรุงตับ

ตัวอย่างการติดตามผู้ป่วยโรค”เบาหวาน”ที่มีต่อ โหย่งเหิง

Picture104

Picture105

Picture106

Picture107 

DSC00218

DSC00219

DSC00220

DSC00222

DSC00179

Picture2

Picture131

Picture4

  แนะนำวิธีการใช้ยาสมุนไพรจีน”โหย่งเหิง”จากผู้ใช้โดยตรงเพิ่มเติม

ดื่มก่อนอาหาร เช้า เย็น ก่อนนอน อาทิตย์แรกประมาณ 5 ซีซี แล้วเพิ่มปริมาณเป็น 10 ซีซี และ 15 ซีซี และตามด้วยน้ำอุ่นประมาณครึ่งแก้วยาทุกครั้ง ( แก้วยาที่มีให้ในกล่อนยาโหย่งเหิง) เพื่อใหตัวยาได้เข้าสู่กระแสโลหิตได้เร็วยิ่งขึ้น ถ้าหากมีแผลให้ใช้ยาสมุนไพร โหย่งเหิงทาที่แผลนั้นด้วย แต่ถ้าเบาหวานเริ่มขึ้นตา ให้ใช้ส่วนที่ใสๆประมาณ 1 หยด หยอดที่ตาก่อนนอนได้ เริ่มต้นควรปรึกษาผู้เชี่ยวชาญในการใช้หยอดตาให้เข้าใจก่อนใช้

  สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมโทร 0892083459 ,021721078

email:thinprasat@gmail.com

รับสมัครสมาชิกและตัวแทนจำหน่ายทั่วประเทศ

1 ความคิดเห็น: